หน้าหลัก
เกี่ยวกับคณะ
รู้จักเรา
สาน์สจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ยุทธศาสตร์
โครงสร้างคณะ
แนะนำ
ผู้บริหาร
หัวหน้าภาควิชา
คณะกรรมการประจำคณะ
สภาอาจารย์
สภาบุคลากรสายสนับสนุน
อาจารย์สมทบ
หน่วยงาน
ภาควิชา
สำนักงานคณบดี
สำนักงานบริการเทคโนโลยีสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (OPHETS)
การศึกษา
หลักสูตร
ระดับปริญญาตรี
ระดับปริญญาโท
ระดับปริญญาเอก
ทุนการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัคร
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
ผลงานวิจัย
Research to Policy
Research to Innovation
บริการของเรา
บริการด้านห้องปฎิบัติการ
บริการตรวจสุขภาพ
บริการตรวจวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม
บริการฝึกอบรม
บริการห้องประชุม
ติดต่อคณะ
MU
0 2354 8543
สมาคมศิษย์เก่า
สายตรงคณบดี
อินทราเน็ต
EN
หน้าหลัก
เกี่ยวกับคณะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รู้จักเรา
สาน์สจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ยุทธศาสตร์
โครงสร้างคณะ
แนะนำ
ผู้บริหาร
หัวหน้าภาควิชา
คณะกรรมการประจำคณะ
สภาอาจารย์
สภาบุคลากรสายสนุบสนุน
อาจารย์สมทบ
หน่วยงาน
ภาควิชา
สำนักงานคณบดี
สำนักงานบริการเทคโนโลยีสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (OPHETS)
การศึกษา
หลักสูตรของเรา
ระดับปริญญาตรี
ระดับปริญญาโท
ระดับปริญญาเอก
ทุนการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัคร
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
ผลงานวิจัย
Research to Policy
Research to Innovation
บริการของเรา
บริการด้านห้องปฎิบัติการ
บริการตรวจสุขภาพ
บริการตรวจวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม
บริการฝึกอบรม
บริการห้องประชุม
ติดต่อคณะ
หน้าหลัก
>
Sustainable Development Goals (SDGs)
>
การจัดการน้ำและสุขาภิบาล : Clean water and sanitation
6. การจัดการน้ำและสุขาภิบาล : Clean water and sanitation
งานวิจัย / การสำรวจ / ผลการศึกษา
งานวิจัย
ปี 2562
หัวข้อ
รายละเอียด
ชื่องานวิจัย
Sanitizer Truck: นวัตกรรมรถสูบสิ่งปฏิกูลพร้อมระบบบำบัด
คณะ/สาขาวิชา
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธงชัย ขนาบแก้ว
ที่มาและความสำคัญ
ปัจจุบันการกำจัดสิ่งปฏิกูล (Faecal sludge) จากบ้านเรือน ส่วนใหญ่จะถูกขนส่งไปปล่อยทิ้งในสิ่งแวดล้อม หรือพื้นที่รกร้าง เนื่องจากขาดแคลนระบบบบำบัดสิ่งปฏิกูลที่มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูงและมีความต้องการผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ความสามารถ ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของมลพิษ อาทิ สารอินทรีย์ ของแข็งแขวนลอย และไนโตรเจน และเชื้อโรคต่างๆ อาทิ พยาธิ และไข่พยาธิ ลงสู่สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะแหล่งน้ำสะอาด ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงที่ใช้น้ำหรือบริโภคสัตว์น้ำในบริเวณดังกล่าว
นวัตกรรมรถสูบสิ่งปฏิกูลได้รับการออกแบบด้วยหน่วยบำบัดน้ำเสียย่อยหลายกระบวนการ และได้รับการทดสอบในห้องปฏิบัติการ (Lab scale) และระดับขนาดจริง (Pilot scale) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการลดปริมาณสารอินทรีย์ ของแข็งแขวนลอย ไนโตรเจน และเชื้อโรคต่างๆ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ง และสามารถปล่อยน้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัดสู่สิ่งแวดล้อมได้ ทั้งนี้กระบวนการบำบัดจะเกิดขึ้นไปพร้อมกับการสูบสิ่งปฏิกูลจากบ้านเรือน จึงทำให้ลดขั้นตอนการก่อสร้างระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลที่มีขนาดใหญ่ ลดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง และไม่จำเป็นต้องใช้ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้สูง
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา
-
วัตถุประสงค์
ออกแบบรถเก็บและจัดการสิ่งปฏิกูล เพื่อยับยั้งปัญหาการทิ้งสิ่งปฏิกูลที่ทำลายสิ่งแวดล้อม
แหล่งทุนสนับสนุน
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที)
หน่วยงานที่ร่วมมือ
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) และบริษัท Inc Square จำกัด
ผู้มีส่วนได้เสีย
-
ระดับความร่วมมือ
-
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้):
-
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
กิจกรรม/โครงการ
กิจกรรม/โครงการ
ปี 2562
หัวข้อ
รายละเอียด
ชื่อกิจกรรม / โครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อควบคุมและแก้ไขปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาลตามระบบการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
ตัวชี้วัด
-
ที่มาและความสำคัญ
-
สถานที่จัดกิจกรรม / โครงการ
ห้องประชุมชั้น 4 อาคารเทพนม เมืองแมน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
22 สิงหาคม 2562
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย
-
วัตถุประสงค์
-
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ
-
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม
เจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
-
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม
มาตรการซึ่งเป็นแนวทางการจัดการปัญหา PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน อย่างเป็นระบบและจัดลำดับความเหมาะสมต่อสถานการณ์ของประเทศ
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
Conference / Meeting
งานสัมนา/Conference
ปี 2562
หัวข้อ
รายละเอียด
ชื่องานสัมนา/Conference
การประชุมวิชาการนานาชาติด้านสาธารณสุข ประจำปี 2562 Asia-Pacific Academic Consortium for Public Health Conference 2019 (APACPH 2019) : SDGs in Reality
ที่มาและความสำคัญ
-
หัวข้อในการสัมมนา
-
สถานที่จัดงาน
โรงแรมอมารี วอเตอร์เกท กรุงเทพมหานคร
หน่วยงานที่ร่วมจัด
University of Hawaii, Mahidol University, University of Philippines, Peking Medical University, National University of Singapore
บทบาทของหน่วยงาน
-
วัตถุประสงค์
-
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
500
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม
20-22 พฤศจิกายน 2562
ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา/Conference (ถ้ามี)
-
ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา/Conference (ถ้ามี)
-
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDGs goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
17 GLOBAL GOALS
1: No poverty
2: Zero hunger
3: Good health and well-being
4: Quality education
5: Gender equality
6: Clean water and sanitation
7: Affordable and clean energy
8: Decent work and economic growth
9: Industry, innovation and infrastructure
10: Reduced inequalities
11: Sustainable cities and communities
12: Responsible consumption and production
13: Climate action
14: Life Below Water
15: Life on land
16: Peace, justice and strong institutions
17: Partnerships for the goals