>Sustainable Development Goals (SDGs) >ขจัดความหิวโหย : Zero hunger

2. ขจัดความหิวโหย : Zero hunger

บทความ

บทความ

ปี 2565

หัวข้อ รายละเอียด
พัฒนาอาหารริมบาทวิถี สะอาด ปลอดภัย ลดหวาน-มัน-เค็ม เพิ่มใยอาหาร กระตุ้นผู้ขายใส่ใจสุขภาพ

สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ – สสส. ร่วมพัฒนาอาหารริมบาทวิถี สะอาด ปลอดภัย ลดหวาน-มัน-เค็ม เพิ่มใยอาหาร กระตุ้นผู้ขายใส่ใจสุขภาพ เปิด 3 พิกัด ร้านสตรีทฟู้ด ย่านซอยอารีย์ฟู้ดทรัค กทม. ตลาดราชบุตร จ.อุบลราชธานีเกิน 60% ปรับเพิ่มคุณค่าโภชนาการ

เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 ที่อาคารสาธารณสุขวิศิษฎ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดงานแถลงข่าว “โครงการการจัดการด้านโภชนาการและสิ่งแวดล้อมของอาหารริมบาทวิถี” โดยมี รศ. ดร.พัชราณี ภวัตกุล ผู้แทนนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นประธานในพิธี และมอบใบประกาศแก่ร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวนกว่า 60 แห่ง...

Read More

Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
หัวข้อ รายละเอียด
"อาหารริมบาทวิถี" ต้องพัฒนาอย่างไร เพื่อสุขภาพคนเมือง

อาหารริมบาทวิถี หรือ “สตรีทฟู้ด” (Street Food) ในประเทศไทยมีเอกลักษณ์และขึ้นชื่อในเรื่องความหลากหลาย และเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตประชาชนในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันขยายตัวไปยังจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะเมืองที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคของประเทศ

เมื่อปี 2561 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เริ่มดำเนินการทำวิจัย จนถึงปัจจุบัน เรื่อง รูปแบบการจัดการอาหารริมบาทวิถี โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) พัฒนารูปแบบการจัดการอาหารริมบาทวิถีด้านโภชนาการและสุขาภิบาลอาหารของอาหารริมบาทวิถี ติดตามคุณภาพอาหารริมบาทวิถี ตรวจสอบคุณภาพอาหารริมบาทวิถีเพื่อพัฒนาคุณภาพอาหารริมบาทวิถีด้านโภชนาการและด้านสุขาภิบาลอาหาร...

Read More

Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

ปี 2564

หัวข้อ รายละเอียด
"อาหารแห่งอนาคต" รองรับ "สังคมผู้สูงวัย"

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดันงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ พัฒนานวัตกรรมเชิงรุก “อาหารแบบข้นหนืดพร้อมบริโภคเพื่อผู้สูงวัยที่มีภาวการณ์กลืนลำบาก” ตอบโจทย์สังคมในฐานะ “อาหารแห่งอนาคต” พร้อมจับมือเอกชน ดันผลิตภัณฑ์ออกวางตลาดเป็นครั้งแรก

วิกฤติ COVID-19 ทำให้เศรษฐกิจโลกเกิดการชะลอตัวจนถึงเกือบหยุดนิ่งในบางด้าน แต่ผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ยังไม่มีวี่แววว่าจะได้รับผลกระทบจนไปต่อไม่ได้ จากตัวเลขการส่งออกกว่า 3,000 ล้านบาท ซึ่งมีการเติบโตทางเศรษฐกิจร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2563 ชี้ให้เห็นว่า COVID-19 ทำให้ผู้คนหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้นแค่ไหน

รองศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ เทพานนท์ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า คณะฯ มุ่งพัฒนา "นวัตกรรมเชิงรุก" โดยยึดหลักแห่งสุขภาวะ "3P" คือป้องกัน (Prevention) ส่งเสริม (Promotion) และ ปกป้อง(Protection) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมทั้งยังได้มองไปถึง เรื่อง การบริการสังคม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน นอกเหนือไปจากการผลักดันงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ เพื่อให้สามารถใช้ได้จริง และเกิดประโยชน์ต่อสังคมแล้ว อีกจุดมุ่งหมายที่สำคัญ คือ การสร้างองค์ความรู้เพื่อการขยายผลต่อยอดให้เกิดประโยชน์ต่อไปในวงกว้าง

Read More

Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

งานวิจัย / การสำรวจ / ผลการศึกษา

งานวิจัย

ปี 2563

หัวข้อ รายละเอียด
ชื่องานวิจัย การพัฒนาเต้าหู้จากผลิตผลพลอยได้จากการสกัดน้ำมันถั่วดาวอินคา
คณะ/สาขาวิชา ภาควิชาโภชนวิทยา / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้อมลักษณ์ สรรพ่อค้า
ที่มาและความสำคัญ
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา -
วัตถุประสงค์ -
แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
หน่วยงานที่ร่วมมือ
ผู้มีส่วนได้เสีย -
ระดับความร่วมมือ -
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้): วันที่ 16 มกราคม 2563 เซ็นสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ "การถ่ายทอดเทคโนโลยีและกรรมวิธีการผลิตโปรตีนขึ้นรูปจากถั่วดาวอินคา" ให้กับบริษัท นิเคโอะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
หัวข้อ รายละเอียด
ชื่องานวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยที่มีเบาหวาน โดยใช้ข้าวเป็นวัตถุดิบหลัก เพื่อทดแทนผลิตภัณฑ์นำเข้าจากต่างประเทศ: การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารทางการแพทย์
คณะ/สาขาวิชา ภาควิชาโภชนวิทยา / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภัทร์ ไชยกุล
ที่มาและความสำคัญ -
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา -
วัตถุประสงค์ -
แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
หน่วยงานที่ร่วมมือ -
ผู้มีส่วนได้เสีย -
ระดับความร่วมมือ -
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้): กำลังยื่นขอจดสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2563 บริษัท ดีโอดี ไบโอเทค ขอใช้สิทธิ์
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

ปี 2562

หัวข้อ รายละเอียด
ชื่องานวิจัย เครื่องดื่มกระตุ้นความอยากอาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง
คณะ/สาขาวิชา ภาควิชาโภชนวิทยา / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรภา หัตถโกศล
ที่มาและความสำคัญ -
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา -
วัตถุประสงค์ -
แหล่งทุนสนับสนุน -
หน่วยงานที่ร่วมมือ -
ผู้มีส่วนได้เสีย -
ระดับความร่วมมือ -
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้): ยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
หัวข้อ รายละเอียด
ชื่องานวิจัย การพัฒนาอาหารข้นหนืดตำหรับไทยสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก
คณะ/สาขาวิชา ภาควิชาโภชนวิทยา / ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้อมลักษณ์ สรรพ่อค้า
ที่มาและความสำคัญ -
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา -
วัตถุประสงค์ -
แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
หน่วยงานที่ร่วมมือ -
ผู้มีส่วนได้เสีย -
ระดับความร่วมมือ -
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้): ยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร มิถุนายน 2562
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
หัวข้อ รายละเอียด
ชื่องานวิจัย การผลิตมาร์การีนจากน้ำมันรำข้าวด้วยวิธีการแช่แข็งร่วมกับ การดัดแปลงโครงสร้างของน้ำมัน
คณะ/สาขาวิชา ภาควิชาโภชนวิทยา / รองศาสตราจารย์ ดร.สุภัทรา ลิลิตชาญ
ที่มาและความสำคัญ -
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา -
วัตถุประสงค์ -
แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
หน่วยงานที่ร่วมมือ -
ผู้มีส่วนได้เสีย -
ระดับความร่วมมือ -
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้): ยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2562
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

กิจกรรม / โครงการ

กิจกรรม/โครงการ

ปี 2562

หัวข้อ รายละเอียด
ชื่อกิจกรรม / โครงการ การพัฒนา Health Literate Faculty ที่ศูนย์วิจัยสูงเนิน Health Literate District and Healthy District เพื่อเป็น Interprofessional Education ของมหาวิทยาลัยมหิดล
ตัวชี้วัด -
ที่มาและความสำคัญ -
สถานที่จัดกิจกรรม / โครงการ -
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย -
วัตถุประสงค์ -
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ -
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม -
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม -
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม -
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

Conference / Meeting

งานสัมนา/Conference

ปี 2562

หัวข้อ รายละเอียด
ชื่องานสัมนา/Conference การประชุมวิชาการนานาชาติด้านสาธารณสุข ประจำปี 2562 Asia-Pacific Academic Consortium for Public Health Conference 2019 (APACPH 2019) : SDGs in Reality
ที่มาและความสำคัญ -
หัวข้อในการสัมมนา -
สถานที่จัดงาน โรงแรมอมารี วอเตอร์เกท กรุงเทพมหานคร
หน่วยงานที่ร่วมจัด University of Hawaii, Mahidol University, University of Philippines, Peking Medical University, National University of Singapore
บทบาทของหน่วยงาน -
วัตถุประสงค์ -
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 500
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม 20-22 พฤศจิกายน 2562
ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา/Conference (ถ้ามี) -
ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา/Conference (ถ้ามี) -
Weblink link อ้างอิงการดำเนินงาน
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ