Page 23 - Publication1 DEC_JAN-Edit(18.03.2020)
P. 23
IT-NEWS : มาท าความรู้จัก Big Data และ Quantum Computing 23
Big Data คืออะไร Quantum Computing
คืออะไร
Big Data คือ เทคโนโลยีและสถาปัตยกรรมไอทีรุ่นใหม่ ที่ได้รับการออกแบบ แนวคิดเรื่องการน า Quantum มาใช้กับคอมพิวเตอร์มีมาตั้งแต่
ให้สามารถรองรับการเก็บ วิเคราะห์ และใช้งานดาต้าหลากหลายประเภทที่ ปี 1980 แต่เนื่องจากมีความซับซ้อนทางฟิสิกส์ค่อนข้างสูงมาก รวมถึง
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีปริมาณมหาศาลได้โดยมีต้นทุนต่ าเมื่อเทียบ ต้องท างานวิจัยในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมการวิจัยจึงยังอยู่ในวงจ ากัด
กับเทคโนโลยีและสถาปัตยกรรมไอทีแบบเดิม นั่นท าให้ค าว่า “Big Data” ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีพัฒนาขึ้นระบบ Quantum Computing จึงได้รับ
ไม่ได้หมายถึงเฉพาะตัวดาต้าเองเท่านั้น แต่ยังหมายถึงประเภทของเทคโนโลยี การสานต่อโดยบริษัทไอทียักษ์ใหญ่และประเทศเศรษฐกิจชั้นน าจนมี
แบบใหม่ที่สามารถบริหารจัดการ สร้างการเข้าถึง และวิเคราะห์ดาต้าที่มี แนวโน้มว่าเราอาจจะได้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลโดย Qubit ภายใน
ปริมาณมากขึ้นได้และวิเคราะห์ได้รวดเร็วขึ้นกว่าที่เทคโนโลยีแบบเดิม 10 ปีที่จะถึงนี้ และด้วยความเร็วมากกว่าคอมพิวเตอร์แบบดั้งเดิมที่เราใช้
กันอย่างเทียบไม่ติด มันจึงเข้ามาท าให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกวันนี้
เปลี่ยนไป ลองดูตัวอย่างการน าระบบ Quantum Computing ไปใช้ใน
ด้านต่าง ๆ
Quantum Computing ท าอะไรได้บ้าง
พลิกรูปแบบ Online Security - ปัจจุบัน ระบบ Online Security
จะท างานด้วยการเข้ารหัสจ านวนมาก แน่นอนว่า Quantum
Computing สามารถถอดรหัสทั้งหมดได้โดยง่าย แต่หากว่าเราน า
Quantum Computing มาเป็นเครื่องประมวลผลรหัสแทนก็อาจจะได้
แม่กุญแจและกุญแจที่แข็งแรงกว่าที่เคย
ลับสมองให้ AI - พลังประมวลผลอันรวดเร็วจากระบบ Quantum
Computing ที่สามารถเร่งกระบวนการเรียนรู้ของ AI หรือ
เทคโนโลยี Big Data ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ที่ควบรวม ปัญญาประดิษฐ์ ให้เร็วกว่าที่เป็นอยู่ได้ ท าให้ AI ถูกพัฒนาเพื่อแก้ปัญหา
(integrate) จัดระเบียบ (organize) บริหารจัดการ (manage) และ เฉพาะหน้าได้ดียิ่งขึ้น
น าเสนอดาต้า (present) ที่มีลักษณะเป็น 4 V ดังต่อไปนี้ ทดลองทางเคมีเพื่อพัฒนายารักษาโรค - การสร้างยารักษาโรค
แต่ละชนิดต้องอาศัยการค านวณอันละเอียดและแม่นย า Quantum
Volume คือปริมาณ ขนาดของดาต้า ซึ่งการวัดว่า “มาก” หรือ “น้อย” Computing ไม่เพียงแต่ท าได้รวดเร็วแต่ยังสามารถค านวณค่า
ขึ้นอยู่กับแต่ละองค์กร โดยในความเป็นจริงแล้ว ขนาดไม่ได้ส าคัญเท่ากับอัตรา ต่าง ๆ พร้อมกัน อีกทั้งในอนาคตการออกแบบยารักษาโรคจะลงลึกไปถึง
การเพิ่มขึ้นของดาต้าเมื่อเทียบกับวิธีการแบบดั้งเดิม ในระดับวิเคราะห์ DNA เพื่อผลิตยาที่เหมาะกับแต่ละคน ประสิทธิภาพของ
เทคโนโลยี Qubit สามารถตอบโจทย์ทั้งด้านความแม่นย าและเวลาเพื่อ
Variety คือความหลากหลาย ประเภทของตัวดาต้าและแหล่งที่มาของดาต้า
รักษาอาการเจ็บป่วยได้ทันท่วงที
ที่แตกต่างกันซึ่งนี่คือลักษณะส าคัญของดาต้าที่ก าลังเป็นเปลี่ยนไปความ
ท้าทายที่มาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงนี้ คือการจัดเก็บ วิเคราะห์ และดึงข้อมูล พัฒนาการพยากรณ์อากาศให้แม่นย ายิ่งขึ้น - ภัยพิบัติทาง
เชิงลึก (insight) ออกมาจากดาต้าเหล่านี้ ธรรมชาติก่อความเสียหายแก่ชีวิต และทรัพย์สินมากมาย แต่ด้วย
เครื่องมือปัจจุบัน การพยากรณ์อากาศแทบจะเป็นเกมเดาสุ่ม แม้เราจะมี
Velocity คือความเร็วของการเปลี่ยนแปลงของดาต้า ซึ่งส่งผลให้เทคโนโลยี ความรู้แต่การค านวณของเรากลับไม่รวดเร็วพอที่จะป้องกันเหตุได้ เราจึง
การวิเคราะห์ดาต้า ที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ ในช่วงเวลาสั้น ๆ นั่นคือ จ าเป็นต้องใช้ประสิทธิภาพของ Quantum Computing เพื่อปรับปรุง
ในระดับนาที ไม่ใช่ ระดับชั่วโมง หรือระดับวัน จึงกลายเป็นเทคโนโลยีส าคัญ การคาดการณ์ให้แม่นย ายิ่งขึ้น โดยปัจจุบัน หน่วยงานพยากรณ์อากาศ
ส าหรับองค์กรที่ต้องการตอบสนองต่อสภาพตลาดและความต้องการของ แห่งชาติของสหราชอาณาจักรได้น าเทคโนโลยี Quantum Computing
ลูกค้าที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วหรือแม้กระทั่งการตรวจจับหลักฐานการทุจริต มาใช้เพื่อจ าลองแนวโน้มสภาพอากาศในปัจจุบัน ท าให้เรามีข้อมูลมาก
ต่าง ๆ พอจะคาดเดาอากาศได้แม่นย าขึ้น
Veracity ข้อมูลมีความไม่ชัดเจน (untrusted, uncleaned) จัดการคมนาคมให้ใช้ได้เต็มประสิทธิภาพ - ทั้งบนฟ้า บนพื้นดิน
หรือบนผิวน้ า ความเร็วของ ระบบ Quantum Computing สามารถ
ส าหรับองค์กรแล้ว Big Data ส าคัญในการน ามาวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรม น ามาใช้ประเมินเส้นทางให้เราเดินทางได้ประสิทธิภาพสูงสุด
ของลูกค้าเพื่อให้สามารถมองเห็นแนวทางในการวางแผนธุรกิจเพื่อให้ ช่วยประหยัดเวลา ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ใช้ทางบนวิถี
ตอบสนองกลุ่มลูกค้าได้อย่างถูกต้อง การน า Big Data มาใช้สามารถเริ่มได้ การจราจรอันซับซ้อนขึ้นทุกวัน
จากการมองเห็นปัญหาเล็ก ๆ ที่ต้องการแก้ก่อนแล้ว จึงน าไปสู่การวางแผน
เพื่อแก้ปัญหาที่ใหญ่ขึ้น หรือพัฒนาองค์กรให้เติบโตขึ้นก็ได้
ข้อมูล: https://www.depa.or.th/th
https://blog.goodfactory.co/big-data-คืออะไร-8ebf3a1a0050