Page 197 - Public Health AUG65
P. 197

คือ ไม่จ้างหนุ่มสาว ขอคนที่เป็นผู้ใหญ่ หรือคนที่เป็นที่นับถือใน

           ชุมชนมาเป็นตัวขับเคลื่อน เป็นผู้สื่อข่าวสาธารณสุข (ผสส.) ซึ่งคน
                                                                       ื
           เหล่านี้จะอยู่ในหมู่บ้านตามจุดต่างๆ เฉลี่ยแล้วทุกๆ ๑๕ หลังคาเรอน

                                   ี่
           จะมี ๑ คน ให้มาทำหน้าท ผสส. โดยอบรมให้ความรู้เรื่องสาธารณสุข
           และให้กระจายความรู้ต่อไปในชุมชนของตน


                  เมื่อทำไประยะหนึ่งพบว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่มีความสามารถ

           รักษาพยาบาลกันได แต่ที่ผ่านมายังไม่มีหลักการ และรักษาไปตาม
                              ้
           ประสบการณ์ของตน หากได้รับการฝึกจะทำให้เขาพัฒนาศักยภาพ

                   ้
                                                        ้
           ขึ้นมาได จึงมีความคิดจะสร้างอาสาสมัครหมู่บาน หรือ อสม. เป็น
           การทำงานโดยสมัครใจ ให้ภาคภูมิใจกับงานที่ทำ โดยไม่มีการให้เงิน

           เรื่องนี้ได้เข้าสู่นโยบายระดับประเทศในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ซึ่งขณะ

           นั้น นพ.อมร นนทสุต ท่านเป็นรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข จึงมี

           ส่วนร่วมในการร่างแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ ๔ (พ.ศ.๒๕๒๐-

                     ้
           ๒๕๒๔) ไดนำเรื่อง ผสส. อสม. รวมทั้งระบบสาธารณสุขมูลฐานเข้า
           ไว้ในแผนพัฒนาฯ


                                                ้
                  องค์การอนามัยโลก (WHO) ไดเสนอความคิดว่า หากจะให้
           ประชากรในโลก และในประเทศสมาชิก มีสุขภาพอนามัยดีแล้ว

           งานสาธารณสุขจะต้องได้รับการส่งเสริมให้ชาวบาน หรือชุมชนได       ้
                                                          ้
           เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน (ซึ่งในขณะนั้นไทย และอีก





                                         ๑๙๕
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202