หน้าหลัก
เกี่ยวกับคณะ
รู้จักเรา
สารจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ยุทธศาสตร์
โครงสร้างคณะ
อัตลักษณ์
รายงานประจำปี
ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
แนะนำ
ผู้บริหาร
หัวหน้าภาควิชา
คณะกรรมการประจำคณะ
สภาอาจารย์
สภาบุคลากรสายสนับสนุน
อาจารย์สมทบ
สำนักงานคณบดี
หน่วยงาน
ภาควิชา
สำนักงานคณบดี
ศูนย์วิจัยสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมสูงเนิน
ศูนย์สุขภาพและบริการวิชาการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ผู้สนใจเข้าศึกษา
หลักสูตร
MPH
MD-MPH
ระดับปริญญาตรี
ระดับปริญญาโท
ระดับปริญญาเอก
ทุนการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัคร
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
ข่าวรับสมัคร
ข่าวรับสมัครเข้าศึกษา-ทุนการศึกษา
การศึกษา
วิจัยและนวัตกรรม
บริการของเรา
บริการฝึกอบรม
IN-HOUSE TRAINING
บริการด้านห้องปฎิบัติการ
บริการตรวจสุขภาพ
บริการตรวจวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม
บริการให้เช่าห้องประชุมฯ
ติดต่อคณะ
EN
0 2354 8543
สมาคมศิษย์เก่า
อินทราเน็ต
EN
หน้าหลัก
เกี่ยวกับคณะ
รู้จักเรา
สารจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ยุทธศาสตร์
โครงสร้างคณะ
อัตลักษณ์
รายงานประจำปี
ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
แนะนำ
ผู้บริหาร
หัวหน้าภาควิชา
คณะกรรมการประจำคณะ
สภาอาจารย์
สภาบุคลากรสายสนุบสนุน
อาจารย์สมทบ
สำนักงานคณบดี
หน่วยงาน
ภาควิชา
สำนักงานคณบดี
ศูนย์วิจัยสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมสูงเนิน
ศูนย์สุขภาพและบริการวิชาการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ผู้สนใจเข้าศึกษา
หลักสูตรของเรา
MPH
MD-MPH
ระดับปริญญาตรี
ระดับปริญญาโท
ระดับปริญญาเอก
ทุนการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัคร
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ระดับบัณฑิตศึกษา
ข่าวรับสมัคร
ข่าวรับสมัครเข้าศึกษา-ทุนการศึกษา
การศึกษา
วิจัยและนวัตกรรม
บริการของเรา
บริการฝึกอบรม
IN-HOUSE TRAINING
บริการด้านห้องปฎิบัติการ
บริการตรวจสุขภาพ
บริการตรวจวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม
บริการให้เช่าห้องประชุมฯ
ติดต่อคณะ
>
สถานศึกษาปลอดภัย
>
บทความด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ภาพจาก: epoxy-siam
ความปลอดภัยการจราจรภายในโรงงาน
05-07-2564
เขียนโดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยนันต์ แท่งทอง
การจัดการจราจรในโรงงานมีความสำคัญมาก การจัดการจราจรที่ไม่ดีนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุซึ่งมีความรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ การจัดการการจราจรในโรงงานให้ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมีปัจจัยที่ต้องพิจารณา เช่น การแยกช่องทางระหว่างรถกับคนเดินเท้า มีการขีดสีตีเส้นให้ชัดเจนหรือมีราวกัน มีป้ายสัญลักษณ์ ในกรณีเป็นทางตัดกัน ระหว่างถนนกับทางคนเดินเท้า จะต้องเห็นได้ชัดเจน โดยมีขอบถนน หรือราวกัน เพื่อให้คนเดินข้ามเฉพาะบริเวณที่ทางข้ามเท่านั้น ในบริเวณทางข้ามนั้นควรออกแบบให้มีการลดระดับพื้นลงจากทางเดินเท้าหรือทำให้พื้นผิวขรุขระเพื่อคนเดินเท้าทราบว่ากำลังจะถึงทางข้ามถนน...
Read More
ภาพจาก: VOICE
โรงงานหมิงตี้ เคมีคอล กิ่งแก้ว ไฟไหม้
12-07-2564
เขียนโดย
อาจารย์ ดร.เด่นศักดิ์ ยกยอน
ภาพอาสาดับเพลิง โรงงานหมิงตี้ เคมีคอล กิ่งแก้ว ไฟไหม้ ที่แค่เพียงสวมหน้ากากอนามัย หรือบางคนใช้ผ้าปิดจมูกเท่านั้นเพื่อเลี่ยงการสูดดมกลิ่นควันไฟ บางคนเท่านั้นที่มี N95 และน้อยคนมากที่จะมีหน้ากากป้องกันก๊าซพิษ ขณะเดียวกันก็มีภาพที่ทหารลงพื้นที่โดยมีหน้ากากป้องกันก๊าซพิษ จนทำให้เกิดเสียงวิจารณ์ตามมาจำนวนมากนี่คือภาพที่แสดงให้เห็นความไม่พร้อมของ PPE ที่มีให้อาสาสมัครเหล่านี้ เนื่องสารเคมี 'สไตรีนโมโนเมอร์' ซึ่งเป็นสารอันตรายต่อร่างกายและเป็นสารก่อมะเร็งที่พวกเขากำลังเผชิญอยู่นั้นอย่างน้อยต้องใช้หน้ากากชนิด Full-facepiece respirator (gas mask)...
Read More
ภาพจาก: SC Johnson
ตัวทำละลายในโรงงานอตสาหกรรม
19-07-2564
เขียนโดย
อาจารย์ ดร.สุเมธ เพ้งภูมิเกียรติ
สารเคมีที่ใช้เป็นตัวทำละลายในโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะถูกใช้ร่วมกับสี น้ำยาเคลือบเงา กาว ทินเนอร์ หรือใช้เป็นสารซักล้างทำความสะอาดต่างๆ ซึ่งช่องทางการรับสัมผัสสารตัวทำละลายนั้นได้แก่
1) ทางการดูดซึมทางผิวหนัง เมื่อมีการใช้หรือสัมผัสโดยตรง ในระหว่างการใช้สารเคมีทำความสะอาดต่างๆ
2) ทางการหายใจไอระเหย ซึ่งตัวทำละลายส่วนใหญ่จะเป็นสารอินทรีย์ที่ระเหยได้ง่าย มีความดันไอสูง
3) ทางการกิน ซึ่งอาจจะเกิดจากการหยิบจับอาหารในขณะที่มือมีการปนเปื้อนสารเคมีเหล่านี้อยู่...
Read More
ภาพจาก: โรงพยาบาลเวชธานี
COVID 19 กับแนวทางการเฝ้าระวังสุขภาพในอนาคต
26-07-2564
เขียนโดย
รองศาสตราจารย์ ดร.สรา อาภรณ์
COVID 19 ทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนเปลี่ยนแปลงไป เกิดความคุ้นเคยกับการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมากขึ้น ระมัดระวังต่อสุขภาพของตนเอง ใส่ใจกับคำว่า อันตรายและความเสี่ยง มากขึ้น ในงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนั้น ผู้คนในวงการนี้เข้าใจเรื่องสุขภาพของแรงงาน พร้อมกับตีความในการดูแล การนำใช้กลไกต่างๆ การให้ความรู้เรื่องอันตรายและความเสี่ยง การดำเนินการจัดสภาพแวดล้อมการทำงานให้เกิดความปลอดภัย รวมถึงการตรวจสุขภาพร่างกายของแรงงาน ซึ่งคาดว่าจะเป็นกลไกในการเฝ้าระวังสุขภาพของแรงงานจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน...
Read More
ภาพจาก: ข่าวสดออนไลน์
การใช้ก๊าซออกซิเจนที่บ้าน
02-08-2564
เขียนโดย
อาจารย์ ดร.เด่นศักดิ์ ยกยอน
ภาพท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนทางการแพทย์ (Oxygen cylinder) กำลังขาดตลาดเนื่องจากมีคนแห่ไปซื้อมากักตุนเห็นได้ชัดในประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย และกำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทย ราคาท่อออกซิเจนที่กรุงจาการ์ตา ปรับราคาสูงขึ้นหลายเท่า และสินค้าเริ่มขาดแคลน หลังประเทศเผชิญกับการระบาดของโควิด-19 ที่รุนแรง ยอดผู้ติดเชื้อที่สูงขึ้น ทำให้โรงพยาบาลมีการปฏิเสธการเข้ารับการรักษาของผู้ติดเชื้อ และได้ทำให้ต้องไปหาซื้อถังออกซิเจนจากร้านค้าและโรงอัดบรรจุก๊าซโดยตรง ซึ่งความต้องการที่สูงขึ้นได้ทำให้ราคาพุ่งสูงขึ้นกว่าปกติมาก ขณะเดียวกัน บางโรงพยาบาลเริ่มขาดแคลนถังออกซิเจน...
Read More
ภาพจาก: Amazon UK
อันตรายของฟูมและอุปกรณ์ป้องกัน
09-08-2564
เขียนโดย
ผช.อาจารย์ ชัชชัย ธนโชคสว่าง
การเชื่อมเป็นขั้นตอนสำคัญในกระบวนการประกอบชิ้นส่วนหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ เซมิคอนดักเตอร์ การก่อสร้าง และอุตสาหกรรรมเหล็ก ซึ่งการเชื่อมเป็นกระบวนการเชื่อมต่อวัสดุโลหะสองชนิดเข้าด้วยกันโดยใช้อุณหภูมิที่สูงมากในการหลอมรวมกันแล้วปล่อยให้เย็นและรวมกันเป็นชิ้นเดียว โดยที่กระบวนการเหล่านี้ผู้ปฏิบัติงานต้องเผชิญกับอันตรายหลายอย่าง เช่น ความร้อนสูง ไฟฟ้าช็อต แสงยูวี และการสูดดมก๊าซและ ฟูมจากการเชื่อม...
Read More
ภาพจาก: baandeemestyle
แนวทางการลดความร้อนจากการใส่ชุด PPE ในช่วงการระบาดของโควิด-19
16-08-2564
เขียนโดย
อาจารย์ ดร.ปาจรีย์ กุณฑลบุตร
ในช่วงการระบาดของโควิด-19 บุคลากรทางการแพทย์มีความจำเป็นในการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE) เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัส แต่เนื่องด้วยชุด PPE มีลักษณะมีการห่อหุ้มทั้งตัวนั้นมีน้ำหนักที่มาก มีการเคลื่อนไหวที่จำกัด และการขัดขวางการถ่ายเทความร้อนออกจากร่างกาย เมื่อบุคลากรสวมใส่ชุด PPE เป็นระยะเวลานาน ประกอบด้วยกับภาระงานที่หนัก และอุณหภูมิอากาศที่ร้อน จะทำให้เกิดความร้อนสะสมในร่างกาย ถ้าร่างกายไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิแกนกลางได้ให้อยู่ในภาวะปกติ ประมาณ 37 องศาเซลเซียส อาจนำไปสู่ความรู้สึกไม่สบายกาย หรือเจ็บป่วย เช่น เหนื่อยล้า ตะคริว Heat stroke หรือแม้แต่เสียชีวิตได้...
Read More
ภาพจาก: iqualityair
คุณภาพอากาศในอากาศกับสุขภาพในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19
23-08-2564
เขียนโดย
อาจารย์ ดร.สายศรัทธา นุ่มนวล
คุณภาพอากาศในอาคารเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลกับสุขภาพของเราทุกคน การเจ็บป่วยจากอาคาร (Sick Building Syndrome) และ การเจ็บป่วยที่เกี่ยวเนื่องกับอาคาร (Building Related Illness) ถือเป็นภัยใกล้ตัวที่เราอาจละเลยไป กลุ่มอาการของโรคที่พบ เช่น การระคายเคืองตา ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ อาจมีการเวียนศีรษะ เมื่อยล้า อ่อนเพลียร่วมด้วย หรืออาจรุนแรงไปถึงโรคลีจีแนร์...
Read More
1
2
3
บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ
ปัญหาอุบัติเหตุบนถนนในภาวะการระบาดของโรค Covid-19 และ New Normal ในการรณรงค์ความปลอดภัยบนถนน
12-9-2563
เขียนโดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยนันต์ แท่งทอง
การตรวจวัดสารเคมีในสิ่งแวดล้อมการทำงาน
25-07-2564
เขียนโดย
อาจารย์ ดร.วรกมล บุณยโยธิน
ผู้เขียน
LINE Official
FB Messenger